ประเภทของขลุ่ยไทย
1. สาระสำคัญ
ขลุ่ย เป็นเครื่องดนตรีที่ทำให้เกิดเสียงโดยการเป่า ขลุ่ยที่นิยมเล่นในปัจจุบัน
นอกจากจะบรรเลงเดี่ยวแล้ว ยังนำไปเล่นร่วมกับวงเครื่องสายไทยและวงมโหรี มีอยู่ 3 ชนิด
คือ ขลุ่ยหลิบ ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยอู้ (เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี, 2542) ขลุ่ยแต่ละชนิดมีระดับเสียง
และขนาดที่แตกต่างกันออกไป
ขลุ่ยไทยจัดเป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น เลาขลุ่ย นิยมทำด้วยไม้ไผ่
หรือไม้รวก แต่อาจใช้วัสดุอื่นมาทำได้ เช่น ไม้เนื้อแข็งและท่อพลาสติก เสียงขลุ่ยเกิดจาก
การเป่าลมผ่านช่องลม เป็นเครื่องดนตรีมีมาแต่โบราณ นิยมใช้เป่าเพื่อความบันเทิง ใช้บรรเลงร่วมกับวงเครื่องสาย วงมโหรี และวงปี่พาทย์
2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. จำแนกประเภทของขลุ่ยไทยได้ถูกต้อง
2. บอกวัสดุที่ใช้ทำขลุ่ยได้
3. สาระการเรียนรู้
ประเภทของขลุ่ยไทย
ประเภทของขลุ่ยไทย
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น เครื่องดนตรีประเภทนี้เรียกโดยรวมว่า “ขลุ่ย” ลักษณะของขลุ่ย
เลาขลุ่ย นิยมทำด้วยไม้ไผ่ แต่ก็อาจใช้วัสดุชนิดอื่นมาทำได้ เช่น ไม้เนื้อแข็งและท่อพลาสติก บนเลาขลุ่ยจะประกอบด้วย รูทั้งหมด 13 รูด้วยกัน รูที่ทำให้เกิดความแตกต่างของเสียงมีด้วยกัน 9 รู ประกอบด้วยด้านบนหรือด้านหน้า จำนวน 7 รู ด้านหลังหรือด้านล่างมี 1 รู เรียกว่า “รูค้ำ” และด้านข้างอีก 1 รู เรียกว่า “รูเยื้อ” โดยทั่วไปรูเยื้อจะใช้หัวหอมหรือกระดาษบาง ๆ เช่น กระดาษสาปิดไว้ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดเสียงสั่นพลิ้ว อันเป็นคุณลักษณะของเสียงขลุ่ยที่สำคัญยิ่ง (เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี, 2542)
ขลุ่ย เป็นเครื่องดนตรีที่ทำให้เกิดเสียงโดยการเป่า ขลุ่ยที่นิยมเล่นในปัจจุบันนอกจากจะบรรเลงเดี่ยวแล้ว
ยังนำไปเล่นร่วมกับวงเครื่องสายไทยและวงมโหรี มีอยู่ 3 ชนิดคือ ขลุ่ยหลิบ ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยอู้ (เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี, 2542) ขลุ่ยแต่ละชนิดมีระดับเสียงและขนาดที่แตกต่างกันออกไป ดังนี้
1. ขลุ่ยหลิบ ขลุ่ยหลีบหรือขลุ่ยหลีก เป็นขลุ่ยขนาดเล็ก มีความยาวประมาณ
35 เซนติเมตร ความกว้างประมาณ 2 เซนติเมตร ทำขึ้นภายหลัง เพื่อให้คู่กับขลุ่ยเพียงออ
โดยมีเสียงเล็กแหลมสูงกว่าขลุ่ยเพียงออ 3 เสียง และมีลีลาการบรรเลงที่โหยหวน ถี่กระชับ
นิยมใช้บรรเลงในวงเครื่องสายเครื่องคู่ เครื่องสายปี่ชวา มโหรีเครื่องคู่ ถ้าปิดรูทั้งหมดจะเป็นเสียง “ ฟา” ลำดับเสียงคือ ฟา ซอล ลา ที โด เร มี ฟา
2. ขลุ่ยเพียงออ เป็นขลุ่ยขนาดกลาง มีความยาวประมาณ 45 เซนติเมตร ความกว้างประมาณ 2.5 เซนติเมตร ซึ่งกำหนดให้มีทางเสียงประจำตัวว่า “เสียงเพียงออ” ใช้บรรเลงทั่วไปในวงเครื่องสาย มโหรี
ปี่พาทย์ไม้นวม ปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ ทั้งยังเป็นหลักในการเทียบเสียงเครื่องดนตรีในวงด้วย เมื่อปิดนิ้วทุกนิ้วจะได้เสียงเทียบเท่ากับเสียงโด ถ้าปิดรูทั้งหมดจะเป็นเสียง “ โด ” ลำดับเสียงคือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โด
3. ขลุ่ยอู้ เป็นขลุ่ยขนาดใหญ่ที่สุดของขลุ่ยไทย มีความยาวประมาณ 60 เซนติเมตร
ความกว้างประมาณ 4 เซนติเมตร มีระดับเสียงทุ้มต่ำนุ่มนวล มีลีลาการบรรเลงที่เรียบง่าย
ใช้เสียงยาวเป็นหลัก โดยมีระดับเสียงต่ำสุดต่ำกว่าระดับของขลุ่ยเพียงออลงไป 2 เสียง
ขลุ่ยอู้ใช้ในวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ ถ้าปิดรูทั้งหมดจะเป็นเสียง “ ซอล” ลำดับเสียงคือ ซอล ลา
ที โด เร มี ฟา ซอล (กาญจนา อินทรสุนานนท์, ม.ป.ป.; พิชัย ปรัชญานุสรณ์, 2545; สมโชค
สงชู, 2545; อัษฎาวุธ สาคริก, 2550)
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าที่ได้กล่าวแล้วตั้งแต่ต้น ล้วนมีลีลาของการบรรเลง
ที่คล้ายคลึงกัน คือ เก็บบ้าง โหยหวนบ้าง เครื่องเป่าไทยทุกชนิดมีลีลาการผลิตเสียงที่เป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่น คือ “ การระบายลม” การระบายลมเป็นเทคนิคการผ่อนและเป่าลม
ให้หมุนเวียนไปมา สามารถสร้างเสียงได้อย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลาที่ยาวนานจนคล้ายกับ
ผู้เป่ามิได้หยุดหายใจ (เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี, 2542)
วันพุธที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
ชื่อ นางจุฬีภรณ์ อุทัยพันธ์
วันเดือนปีเกิด วันที่ 16 กรกฎาคม 2506
สถานที่เกิด ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
สถานที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 403/2หมู่ 4
ถนนชยางกูร ตำบลขามใหญ่ อำเภอเมือง
จังหวัดอุบลราชธานี 34000 โทร. 045 280010, 0812049784
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชำนาญการพิเศษ
โรงเรียนนารีนุกูล ๒
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 1
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2521 ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนต้น ม.ศ. 3 โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม จังหวัดบุรีรัมย์
พ.ศ. 2524 ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.ศ. 5 โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม จังหวัดบุรีรัมย์
พ.ศ. 2528 ครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.)เกียรตินิยมอันดับ 2 วิชาเอก ดนตรีศึกษา วิทยาลัยครูบุรีรัมย์
จังหวัดบุรีรัมย์ (ปัจจุบันมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์)
วันเสาร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
ประวัติดนตรีสากล
ดนตรีสากลแบ่งเป็น 7 สมัยใหญ่ ๆ ดังนี้
1. สมัยกลาง ( The Middle Ages ค.ศ. 850 – 1450 ) พ.ศ. 1393 – 1993 ก่อนสมัยนี้ราวศตวรรษที่ 6 ดนตรีขึ้นอยู่กับศาสนา Pope Gregorian เป็นผู้รวบรวมบทสวด เป็นทำนองเดียว ( Monophony ) โดยได้ต้นฉบับจากกรีก เป็นภาษาละติน ต่อมาจึงมี 2 ทำนอง( Polyphony ) ศตวรรษที่ 11 การศึกษาเริ่มในโบสถ์ในสมัยกลางนี้เองได้เริ่มมีการบันทึกตัวโน้ต โดยมีพระองค์หนึ่งเป็นชาวอิตาเลียนชื่อ Guido D’Arezzo ( พ.ศ. 1538 – 1593 ) ได้สังเกตเพลงสวดเก่าแก่เป็นภาษาละตินเพลงหนึ่งแต่ละประโยคจะมีเสียงค่อย ๆ สูงขึ้น จึงนำเอาเฉพาะตัวแรกของบทสวดมาเรียงกัน จึงออกเป็น Do Re Mi Fa Sol La Te Do( เว้นตัว Te เอาตัวที่ 2 ) ต่อมา ค.ศ. 1300 ( พ.ศ. 1843 ) ดนตรีก็เริ่มเกี่ยวกับศาสนาอย่างแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น
2. สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ( The Renaissance Period ค.ศ. 1450 – 1600 ) ยุคนี้เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 1993 – 2143 ตรงกับสมัยโคลัมบัส และเชคสเปียร์ ดนตรีในยุคนี้มักจะเป็นการเริ่มร้องหมู่เล็ก ๆ ส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการร้องเพื่อสรรเสริญพระเจ้า ร้องกันในโบสถ์มี 4 แนว คือ โซปราโน อัลโต เทเนอร์ และเบส การร้องจะมีออร์แกนหรือขลุ่ยคลอ ดนตรีในสมัยนี้ยังไม่มีโน้ตอ่าน และมักเล่นตามเสียงร้อง
3. สมัยโบราค ( BaroQue ค.ศ. 1650 – 1750 ) ยุคนี้เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2143 – 2293 และนักดนตรีที่มีชื่อเสียงในยุคนี้ได้แก่ บาค ไฮเดิล ในยุคต้นของสมัยบาโรค ( พ.ศ. 2143 – 2218 ) มีเครื่องดนตรีประมาณ 20 – 30 ชิ้นสลับกันเล่น เพื่อให้มีรสชาติในการฟังเครื่องดนตรีในการคลอเสียงร้อง เช่น ลิ้วท์ ขลุ่ย ต่อมาได้วิวัฒนาการใช้เครื่องสายมากขึ้นเพื่อประกอบการเต้นรำ รวมทั้งเครื่องลมไม้ด้วย ในสมัยนี้ผู้อำนวยเพลงจะเล่นฮาร์พซิคอร์ด
4. สมัยคลาสสิค ( Classical Period ค.ศ. 1750 – 1825 ) ตั้งแต่ พ.ศ. 2273 – 2368 สมัยนี้ตรงกับการปฏิวัติและการปฏิรูปในอเมริกา ไฮเดิลเป็นผู้ริเริ่มในการแต่งเพลงและคลาสสิค การแต่งเพลงในยุคนี้เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ และจินตนาการของคีตกวีที่จะเลือกใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับลีลา และโอกาสตามอารมณ์ของดนตรี เช่น ดนตรีลักษณะหวานก็ใช้ไวโอลิน ถ้าแสดงความองอาจกล้าหาญ ก็ใช้แตรทรัมเปต มีการเดี่ยวเครื่องดนตรี นักดนตรีต้องศึกษาและเล่นให้ถูกต้องตามแบบแผน เพราะดนตรีในยุคนี้เริ่มเข้าร่องเข้ารอย คีตกวีในยุคที่มีไฮเดิล โมสาร์ท กลุ๊ก บีโธเฟน โดยเฉพาะบีโธเฟน เป็นคีตกวีในสมัยโรแมนติกด้วย
5. สมัยโรแมนติก ( Romantic Period ค.ศ. 1825 – 1900 ) พ.ศ. 2368 – 2443 สมัยนี้ตรงกับสมัยนโปเลียนแห่งฝรั่งเศส เพลงในสมัยนี้ ผิดไปจากเพลงในสมัยก่อน ๆ คือเมื่อก่อนเริ่มแรกเกี่ยวกับศาสนา ต่อมามีการเลือกใช้เครื่องดนตรีและในสมัยนี้ จะแต่งตามจุดประสงค์ตามความคิดฝันของคีตกวี เน้นอารมณ์เป็นสำคัญนักแต่งเพลงที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้นมี ชูเบิร์ต เสตร้าส์ เมนโดโซน โชแปง ชูมานน์ บราหมส์ ไชคอฟสกี้ โดยเฉพาะในยุคนี้ แต่ละประเทศในยุโรปจะมีความนิยมไม่เหมือนกัน เช่น ลักษณะของเพลงร้อง เพลงประกอบละคร เพลงเต้นรำแบบวอลท์ เป็นไปตามคีตกวีและความนิยมส่วนใหญ่
6. สมัยอิมเพรสชั่นนิสซึม ( Impressionism ค.ศ. 1850 – 1930 ) ประมาณ พ.ศ. 2393 – 2473 เป็นสมัยแห่งการใช้ความคิดสร้างสรรค์ ดัดแปลงดั้งเดิมจากสมัยโรแมนติกให้แปลกออกไปตามจินตนาการของผู้แต่ง เปรียบเทียบได้กับการใช้สีสันในการเขียนรูปให้ฉูดฉาด ในด้านดนตรีผู้ประพันธ์มักสรรหาเครื่องดนตรีแปลก ๆ จากต่างประเทศ เช่น จากอินเดียมาผสมให้มีรสชาติดีขึ้น การประสานเสียงบางครั้งแปร่ง ๆ ไม่รื่นหูเหมือนสมัยก่อน ทำนองเพลงอาจนำมาจากทางเอเชียหรือประเทศใกล้เคียง แล้วมาดัดแปลงให้เหมาะสมกับดุริยางค์ นักดนตรีที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้นมี คลาวด์อบุชชี อิกอร์ สตราวินสกี่ อาร์โนลด์ โชนเบิร์ล
7. สมัยคอนเทมพอลารี ( Contempolary ค.ศ. 1930 – ปัจจุบัน ) หรือ Modern Music – Eletronics ตั้งแต่ พ.ศ. 2473 จนถึงปัจจุบัน ชีวิตของคนในปัจจุบันอยู่กีบความก้าวหน้า ทางวิทยาศาสตร์ได้รู้ได้เห็นสิ่งแปลก ๆ ใหม่ ๆ เช่น ไอพ่น ยานอวกาศโทรทัศน์ นักแต่งเพลงปัจจุบัน จึงเปลี่ยนวิธีการของการประพันธ์เพลงให้เป็นไปในแบบปัจจุบัน
1. สมัยกลาง ( The Middle Ages ค.ศ. 850 – 1450 ) พ.ศ. 1393 – 1993 ก่อนสมัยนี้ราวศตวรรษที่ 6 ดนตรีขึ้นอยู่กับศาสนา Pope Gregorian เป็นผู้รวบรวมบทสวด เป็นทำนองเดียว ( Monophony ) โดยได้ต้นฉบับจากกรีก เป็นภาษาละติน ต่อมาจึงมี 2 ทำนอง( Polyphony ) ศตวรรษที่ 11 การศึกษาเริ่มในโบสถ์ในสมัยกลางนี้เองได้เริ่มมีการบันทึกตัวโน้ต โดยมีพระองค์หนึ่งเป็นชาวอิตาเลียนชื่อ Guido D’Arezzo ( พ.ศ. 1538 – 1593 ) ได้สังเกตเพลงสวดเก่าแก่เป็นภาษาละตินเพลงหนึ่งแต่ละประโยคจะมีเสียงค่อย ๆ สูงขึ้น จึงนำเอาเฉพาะตัวแรกของบทสวดมาเรียงกัน จึงออกเป็น Do Re Mi Fa Sol La Te Do( เว้นตัว Te เอาตัวที่ 2 ) ต่อมา ค.ศ. 1300 ( พ.ศ. 1843 ) ดนตรีก็เริ่มเกี่ยวกับศาสนาอย่างแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น
2. สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ( The Renaissance Period ค.ศ. 1450 – 1600 ) ยุคนี้เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 1993 – 2143 ตรงกับสมัยโคลัมบัส และเชคสเปียร์ ดนตรีในยุคนี้มักจะเป็นการเริ่มร้องหมู่เล็ก ๆ ส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการร้องเพื่อสรรเสริญพระเจ้า ร้องกันในโบสถ์มี 4 แนว คือ โซปราโน อัลโต เทเนอร์ และเบส การร้องจะมีออร์แกนหรือขลุ่ยคลอ ดนตรีในสมัยนี้ยังไม่มีโน้ตอ่าน และมักเล่นตามเสียงร้อง
3. สมัยโบราค ( BaroQue ค.ศ. 1650 – 1750 ) ยุคนี้เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2143 – 2293 และนักดนตรีที่มีชื่อเสียงในยุคนี้ได้แก่ บาค ไฮเดิล ในยุคต้นของสมัยบาโรค ( พ.ศ. 2143 – 2218 ) มีเครื่องดนตรีประมาณ 20 – 30 ชิ้นสลับกันเล่น เพื่อให้มีรสชาติในการฟังเครื่องดนตรีในการคลอเสียงร้อง เช่น ลิ้วท์ ขลุ่ย ต่อมาได้วิวัฒนาการใช้เครื่องสายมากขึ้นเพื่อประกอบการเต้นรำ รวมทั้งเครื่องลมไม้ด้วย ในสมัยนี้ผู้อำนวยเพลงจะเล่นฮาร์พซิคอร์ด
4. สมัยคลาสสิค ( Classical Period ค.ศ. 1750 – 1825 ) ตั้งแต่ พ.ศ. 2273 – 2368 สมัยนี้ตรงกับการปฏิวัติและการปฏิรูปในอเมริกา ไฮเดิลเป็นผู้ริเริ่มในการแต่งเพลงและคลาสสิค การแต่งเพลงในยุคนี้เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ และจินตนาการของคีตกวีที่จะเลือกใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับลีลา และโอกาสตามอารมณ์ของดนตรี เช่น ดนตรีลักษณะหวานก็ใช้ไวโอลิน ถ้าแสดงความองอาจกล้าหาญ ก็ใช้แตรทรัมเปต มีการเดี่ยวเครื่องดนตรี นักดนตรีต้องศึกษาและเล่นให้ถูกต้องตามแบบแผน เพราะดนตรีในยุคนี้เริ่มเข้าร่องเข้ารอย คีตกวีในยุคที่มีไฮเดิล โมสาร์ท กลุ๊ก บีโธเฟน โดยเฉพาะบีโธเฟน เป็นคีตกวีในสมัยโรแมนติกด้วย
5. สมัยโรแมนติก ( Romantic Period ค.ศ. 1825 – 1900 ) พ.ศ. 2368 – 2443 สมัยนี้ตรงกับสมัยนโปเลียนแห่งฝรั่งเศส เพลงในสมัยนี้ ผิดไปจากเพลงในสมัยก่อน ๆ คือเมื่อก่อนเริ่มแรกเกี่ยวกับศาสนา ต่อมามีการเลือกใช้เครื่องดนตรีและในสมัยนี้ จะแต่งตามจุดประสงค์ตามความคิดฝันของคีตกวี เน้นอารมณ์เป็นสำคัญนักแต่งเพลงที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้นมี ชูเบิร์ต เสตร้าส์ เมนโดโซน โชแปง ชูมานน์ บราหมส์ ไชคอฟสกี้ โดยเฉพาะในยุคนี้ แต่ละประเทศในยุโรปจะมีความนิยมไม่เหมือนกัน เช่น ลักษณะของเพลงร้อง เพลงประกอบละคร เพลงเต้นรำแบบวอลท์ เป็นไปตามคีตกวีและความนิยมส่วนใหญ่
6. สมัยอิมเพรสชั่นนิสซึม ( Impressionism ค.ศ. 1850 – 1930 ) ประมาณ พ.ศ. 2393 – 2473 เป็นสมัยแห่งการใช้ความคิดสร้างสรรค์ ดัดแปลงดั้งเดิมจากสมัยโรแมนติกให้แปลกออกไปตามจินตนาการของผู้แต่ง เปรียบเทียบได้กับการใช้สีสันในการเขียนรูปให้ฉูดฉาด ในด้านดนตรีผู้ประพันธ์มักสรรหาเครื่องดนตรีแปลก ๆ จากต่างประเทศ เช่น จากอินเดียมาผสมให้มีรสชาติดีขึ้น การประสานเสียงบางครั้งแปร่ง ๆ ไม่รื่นหูเหมือนสมัยก่อน ทำนองเพลงอาจนำมาจากทางเอเชียหรือประเทศใกล้เคียง แล้วมาดัดแปลงให้เหมาะสมกับดุริยางค์ นักดนตรีที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้นมี คลาวด์อบุชชี อิกอร์ สตราวินสกี่ อาร์โนลด์ โชนเบิร์ล
7. สมัยคอนเทมพอลารี ( Contempolary ค.ศ. 1930 – ปัจจุบัน ) หรือ Modern Music – Eletronics ตั้งแต่ พ.ศ. 2473 จนถึงปัจจุบัน ชีวิตของคนในปัจจุบันอยู่กีบความก้าวหน้า ทางวิทยาศาสตร์ได้รู้ได้เห็นสิ่งแปลก ๆ ใหม่ ๆ เช่น ไอพ่น ยานอวกาศโทรทัศน์ นักแต่งเพลงปัจจุบัน จึงเปลี่ยนวิธีการของการประพันธ์เพลงให้เป็นไปในแบบปัจจุบัน
ประเภทของขลุ่ยเพียงออ
ประเภทของขลุ่ยไทย
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น
เครื่องดนตรีประเภทนี้เรียกโดยรวมว่า “ขลุ่ย” ลักษณะของขลุ่ย เลาขลุ่ย นิยมทำด้วยไม้ไผ่ แต่ก็อาจใช้วัสดุชนิดอื่นมาทำได้ เช่น ไม้เนื้อแข็งและท่อพลาสติก บนเลาขลุ่ยจะประกอบด้วย
รูทั้งหมด 13 รูด้วยกัน รูที่ทำให้เกิดความแตกต่างของเสียงมีด้วยกัน 9 รู ประกอบด้วยด้านบนหรือด้านหน้า จำนวน 7 รู ด้านหลังหรือด้านล่างมี 1 รู เรียกว่า “รูค้ำ” และด้านข้างอีก 1 รู เรียกว่า “รูเยื้อ” โดยทั่วไปรูเยื้อจะใช้หัวหอมหรือกระดาษบาง ๆ เช่น กระดาษสาปิดไว้ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดเสียงสั่นพลิ้ว อันเป็นคุณลักษณะของเสียงขลุ่ยที่สำคัญยิ่ง (เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี, 2542)
ขลุ่ย เป็นเครื่องดนตรีที่ทำให้เกิดเสียงโดยการเป่า ขลุ่ยที่นิยมเล่นในปัจจุบันนอกจาก
จะบรรเลงเดี่ยวแล้ว ยังนำไปเล่นร่วมกับวงเครื่องสายไทยและวงมโหรี มีอยู่ 3 ชนิดคือ ขลุ่ยหลิบ ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยอู้ (เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี, 2542) ขลุ่ยแต่ละชนิดมีระดับเสียงและขนาด
ที่แตกต่างกันออกไป ดังนี้
1. ขลุ่ยหลิบ ขลุ่ยหลีบหรือขลุ่ยหลีก เป็นขลุ่ยขนาดเล็ก มีความยาวประมาณ
35 เซนติเมตร ความกว้างประมาณ 2 เซนติเมตร ทำขึ้นภายหลัง เพื่อให้คู่กับขลุ่ยเพียงออ
โดยมีเสียงเล็กแหลมสูงกว่าขลุ่ยเพียงออ 3 เสียง และมีลีลาการบรรเลงที่โหยหวน ถี่กระชับ
นิยมใช้บรรเลงในวงเครื่องสายเครื่องคู่ เครื่องสายปี่ชวา มโหรีเครื่องคู่ ถ้าปิดรูทั้งหมดจะเป็นเสียง “ ฟา” ลำดับเสียงคือ ฟา ซอล ลา ที โด เร มี ฟา
2. ขลุ่ยเพียงออ เป็นขลุ่ยขนาดกลาง มีความยาวประมาณ 45 เซนติเมตร ความกว้างประมาณ 2.5 เซนติเมตร ซึ่งกำหนดให้มีทางเสียงประจำตัวว่า “เสียงเพียงออ” ใช้บรรเลงทั่วไปในวงเครื่องสาย มโหรี ปี่พาทย์ไม้นวม ปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ ทั้งยังเป็นหลักในการเทียบเสียง
เครื่องดนตรีในวงด้วย เมื่อปิดนิ้วทุกนิ้วจะได้เสียงเทียบเท่ากับเสียงโด ถ้าปิดรูทั้งหมดจะเป็นเสียง “ โด ” ลำดับเสียงคือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โด
3. ขลุ่ยอู้ เป็นขลุ่ยขนาดใหญ่ที่สุดของขลุ่ยไทย มีความยาวประมาณ 60 เซนติเมตร
ความกว้างประมาณ 4 เซนติเมตร มีระดับเสียงทุ้มต่ำนุ่มนวล มีลีลาการบรรเลงที่เรียบง่าย
ใช้เสียงยาวเป็นหลัก โดยมีระดับเสียงต่ำสุดต่ำกว่าระดับของขลุ่ยเพียงออลงไป 2 เสียง
ขลุ่ยอู้ใช้ในวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ ถ้าปิดรูทั้งหมดจะเป็นเสียง “ ซอล” ลำดับเสียงคือ ซอล ลา
ที โด เร มี ฟา ซอล (กาญจนา อินทรสุนานนท์, ม.ป.ป.; พิชัย ปรัชญานุสรณ์, 2545; สมโชค
สงชู, 2545; อัษฎาวุธ สาคริก, 2550)
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าที่ได้กล่าวแล้วตั้งแต่ต้น ล้วนมีลีลาของการบรรเลง
ที่คล้ายคลึงกัน คือ เก็บบ้าง โหยหวนบ้าง เครื่องเป่าไทยทุกชนิดมีลีลาการผลิตเสียงที่เป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่น คือ “ การระบายลม” การระบายลมเป็นเทคนิคการผ่อนและเป่าลม
ให้หมุนเวียนไปมา สามารถสร้างเสียงได้อย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลาที่ยาวนานจนคล้ายกับ
ผู้เป่ามิได้หยุดหายใจ (เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี, 2542)
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น
เครื่องดนตรีประเภทนี้เรียกโดยรวมว่า “ขลุ่ย” ลักษณะของขลุ่ย เลาขลุ่ย นิยมทำด้วยไม้ไผ่ แต่ก็อาจใช้วัสดุชนิดอื่นมาทำได้ เช่น ไม้เนื้อแข็งและท่อพลาสติก บนเลาขลุ่ยจะประกอบด้วย
รูทั้งหมด 13 รูด้วยกัน รูที่ทำให้เกิดความแตกต่างของเสียงมีด้วยกัน 9 รู ประกอบด้วยด้านบนหรือด้านหน้า จำนวน 7 รู ด้านหลังหรือด้านล่างมี 1 รู เรียกว่า “รูค้ำ” และด้านข้างอีก 1 รู เรียกว่า “รูเยื้อ” โดยทั่วไปรูเยื้อจะใช้หัวหอมหรือกระดาษบาง ๆ เช่น กระดาษสาปิดไว้ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดเสียงสั่นพลิ้ว อันเป็นคุณลักษณะของเสียงขลุ่ยที่สำคัญยิ่ง (เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี, 2542)
ขลุ่ย เป็นเครื่องดนตรีที่ทำให้เกิดเสียงโดยการเป่า ขลุ่ยที่นิยมเล่นในปัจจุบันนอกจาก
จะบรรเลงเดี่ยวแล้ว ยังนำไปเล่นร่วมกับวงเครื่องสายไทยและวงมโหรี มีอยู่ 3 ชนิดคือ ขลุ่ยหลิบ ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยอู้ (เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี, 2542) ขลุ่ยแต่ละชนิดมีระดับเสียงและขนาด
ที่แตกต่างกันออกไป ดังนี้
1. ขลุ่ยหลิบ ขลุ่ยหลีบหรือขลุ่ยหลีก เป็นขลุ่ยขนาดเล็ก มีความยาวประมาณ
35 เซนติเมตร ความกว้างประมาณ 2 เซนติเมตร ทำขึ้นภายหลัง เพื่อให้คู่กับขลุ่ยเพียงออ
โดยมีเสียงเล็กแหลมสูงกว่าขลุ่ยเพียงออ 3 เสียง และมีลีลาการบรรเลงที่โหยหวน ถี่กระชับ
นิยมใช้บรรเลงในวงเครื่องสายเครื่องคู่ เครื่องสายปี่ชวา มโหรีเครื่องคู่ ถ้าปิดรูทั้งหมดจะเป็นเสียง “ ฟา” ลำดับเสียงคือ ฟา ซอล ลา ที โด เร มี ฟา
2. ขลุ่ยเพียงออ เป็นขลุ่ยขนาดกลาง มีความยาวประมาณ 45 เซนติเมตร ความกว้างประมาณ 2.5 เซนติเมตร ซึ่งกำหนดให้มีทางเสียงประจำตัวว่า “เสียงเพียงออ” ใช้บรรเลงทั่วไปในวงเครื่องสาย มโหรี ปี่พาทย์ไม้นวม ปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ ทั้งยังเป็นหลักในการเทียบเสียง
เครื่องดนตรีในวงด้วย เมื่อปิดนิ้วทุกนิ้วจะได้เสียงเทียบเท่ากับเสียงโด ถ้าปิดรูทั้งหมดจะเป็นเสียง “ โด ” ลำดับเสียงคือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โด
3. ขลุ่ยอู้ เป็นขลุ่ยขนาดใหญ่ที่สุดของขลุ่ยไทย มีความยาวประมาณ 60 เซนติเมตร
ความกว้างประมาณ 4 เซนติเมตร มีระดับเสียงทุ้มต่ำนุ่มนวล มีลีลาการบรรเลงที่เรียบง่าย
ใช้เสียงยาวเป็นหลัก โดยมีระดับเสียงต่ำสุดต่ำกว่าระดับของขลุ่ยเพียงออลงไป 2 เสียง
ขลุ่ยอู้ใช้ในวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ ถ้าปิดรูทั้งหมดจะเป็นเสียง “ ซอล” ลำดับเสียงคือ ซอล ลา
ที โด เร มี ฟา ซอล (กาญจนา อินทรสุนานนท์, ม.ป.ป.; พิชัย ปรัชญานุสรณ์, 2545; สมโชค
สงชู, 2545; อัษฎาวุธ สาคริก, 2550)
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าที่ได้กล่าวแล้วตั้งแต่ต้น ล้วนมีลีลาของการบรรเลง
ที่คล้ายคลึงกัน คือ เก็บบ้าง โหยหวนบ้าง เครื่องเป่าไทยทุกชนิดมีลีลาการผลิตเสียงที่เป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่น คือ “ การระบายลม” การระบายลมเป็นเทคนิคการผ่อนและเป่าลม
ให้หมุนเวียนไปมา สามารถสร้างเสียงได้อย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลาที่ยาวนานจนคล้ายกับ
ผู้เป่ามิได้หยุดหายใจ (เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี, 2542)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)